ผลงานตีพิมพ์ IEEE & ACM 2021

C. Prasongmanee, P. Wannapiroon and P. Nilsook, “Synthesis of Digital Supervisor Competency,” 2021 Research, Invention, and Innovation Congress: Innovation Electricals and Electronics (RI2C), 2021, pp. 161-166, https://doi.org/10.1109/RI2C51727.2021.9559792.

T. Meepung, P. Wannapiroon and P. Nilsook, “Transition Elements, Enterprise Architecture for Digital Entrepreneurial University,” 2021 Research, Invention, and Innovation Congress: Innovation Electricals and Electronics (RI2C), 2021, pp. 167-175, https://doi.org/10.1109/RI2C51727.2021.9559833.

P. Kannikar, P. Wannapiroon and P. Nilsook, “Synthesis of Multicultural Digital Publicist Competencies,” 2021 Research, Invention, and Innovation Congress: Innovation Electricals and Electronics (RI2C), 2021, pp. 154-160, https://doi.org/10.1109/RI2C51727.2021.9559739.

S. Pratsri, P. Nilsook and P. Wannapiroon, “Augmented Intelligence Coaching System,” 2021 Research, Invention, and Innovation Congress: Innovation Electricals and Electronics (RI2C), 2021, pp. 176-182, https://doi.org/10.1109/RI2C51727.2021.9559817.

S. Chaiyarak, P. Nilsook and P. Wannapiroon, “An empirical study of intelligent virtual universal learning platforms,” 2021 Research, Invention, and Innovation Congress: Innovation Electricals and Electronics (RI2C), 2021, pp. 66-73, https://doi.org/10.1109/RI2C51727.2021.9559785.

Noppadol Saikatikorn, Panita Wannapiroon, and Prachyanun Nilsook. 2021. A conceptual framework for Experiential Design Thinking Learning Model. In 2021 5th International Conference on Education and Multimedia Technology (ICEMT) (ICEMT 2021), July 23–25, 2021, Kyoto, Japan. ACM, New York, NY, USA, 5 pages. https://doi.org/10.1145/3481056.3481101

Sutthinee, Srisawat, Panita Wannapiroon, and Prachyanun Nilsook. 2021. An Empirical Study of Seamless Scientific Learning Model. In 2021 5th International Conference on Education and Multimedia Technology (ICEMT) (ICEMT 2021), July 23–25, 2021, Kyoto, Japan. ACM, New York, NY, USA, 4 pages. https://doi.org/10.1145/3481056.3481103

Kritsupath Sarnok, Panita Wannapiroon, and Prachyanun Nilsook. 2021.
Digital Emotional Intelligence (DEI) and Learning Achievement Through
Digital Storytelling in Digital Learning Ecosystem for Student Teachers. In 2021 5th International Conference on Education and Multimedia Technology (ICEMT) (ICEMT 2021), July 23–25, 2021, Kyoto, Japan. ACM, New York, NY, USA, 8 pages. https://doi.org/10.1145/3481056.3481099

Sajeewan Pratsri, Prachyanun Nilsook, and Panita Wannapiroon. 2021.
Developing a Conceptual Framework for Remote Practice Learning. In
2021 5th International Conference on Education and Multimedia Technology (ICEMT) (ICEMT 2021), July 23–25, 2021, Kyoto, Japan. ACM, New York, NY, USA, 5 pages. https://doi.org/10.1145/3481056.3481104

การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ การตีพิมพ์บทความระดับนานาชาติ

การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การตีพิมพ์บทความระดับนานาชาติ
คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
วันที่ 31 สิงหาคม 2564

แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #2

โครงการสัมมนาเรื่อง
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
ตอน วารสารที่ตีพิมพ์บทความนานาชาติในฐานข้อมูลสากล
ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
วันเสาร์ที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2564

แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ #1

โครงการสัมมนาเรื่อง
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
วันเสาร์ที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2564

“มุมมองการจัดการศึกษาด้านอาชีวศึกษา”

“มุมมองการจัดการศึกษาด้านอาชีวศึกษา”
โดยศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
รายการ คิดบวกคิดใหม่ เพื่อครูไทย
วันที่ 2 สิงหาคม 2564
สถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา (ETV)
สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา

Live & Learn


Live & Learn
บอย โกสิยพงษ์

เมื่อวันที่ชีวิต
เดินเข้ามาถึงจุดเปลี่ยน
จนบางครั้งคนเราไม่ทันได้ตระเตรียมหัวใจ
ความสุขความทุกข์
ไม่มีใครรู้ว่าจะมาเมื่อไหร่
จะยอมรับความจริงที่เจอได้แค่ไหน
เพราะชีวิตคือชีวิต
เมื่อมีเข้ามาก็มีเลิกไป
มีสุขสมมีผิดหวัง
หัวเราะหรือหวั่นไหว
เกิดขึ้นได้ทุกวัน
อยู่ที่เรียนรู้ อยู่ที่ยอมรับมัน
เติมความคิดสติเราให้ทัน
อยู่กับสิ่งที่มีไม่ใช่สิ่งที่ฝัน
และทำสิ่งนั้นให้ดีที่สุด

สุขก็เตรียมไว้
ว่าความทุกข์คงตามมาอีกไม่ไกล
จะได้รับความจริงเมื่อต้องเจ็บปวดไหว
เพราะชีวิตคือชีวิต
เมื่อมีเข้ามาก็มีเลิกไป
มีสุขสมมีผิดหวัง
หัวเราะหรือหวั่นไหว
เกิดขึ้นได้ทุกวัน
อยู่ที่เรียนรู้ อยู่ที่ยอมรับมัน
เติมความคิดสติเราให้ทัน
อยู่กับสิ่งที่มี ไม่ใช่สิ่งที่ฝัน
และทำสิ่งนั้นให้ดีที่สุด
โฮ โฮ โฮ โฮ โฮ โฮ โฮ โฮ …
อยู่ที่เรียนรู้ ยอมรับมัน
อยู่กับสิ่งที่มีไม่ใช่สิ่งที่ฝัน
และทำสิ่งนั้นให้ดีที่สุด

แหล่งที่มา: Musixmatch
นักแต่งเพลง: Chiwin Kosiyabong
เนื้อเพลง Live & Learn © Warner Music Thailand Co Ltd

ศิษย์เก่าเกียรติยศ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คำกล่าวของศาสตราจารย์ผู้เป็นอาจารย์ของข้าพเจ้ากล่าวถึงผลการวิจัยที่พบว่า  นิสิตที่จบจากคณะครุศาสตร์มีจำนวนน้อยมากที่จะไปประกอบอาชีพครู   ท่านกล่าวว่าเราจะมีคณะครุศาสตร์ไปทำไมถ้านิสิตที่จบไปไม่ประกอบอาชีพครู  เราจะไปบอกใครว่าคณะของเราผลิตครูที่ดีที่สุดได้อย่างไร  ถ้าลูกศิษย์ที่จบออกไปไม่ไปแสดงความสามารถในความเป็นครูให้เป็นที่ประจักษ์   ครูที่เป็นเลิศจะสร้างศิษย์ที่เป็นเลิศ  ครูผู้ทรงคุณธรรมจริยธรรมจะสร้างสรรค์คนดีให้กับสังคม  ความภาคภูมิใจที่สุดของคนเป็นครูไม่ใช่ถ้วยรางวัล ไม่ใช่โล่ห์เกียรติยศ แต่เป็นความสำเร็จของผู้เป็นศิษย์ที่สะท้อนให้เห็นว่าครูเก่งและครูดีขนาดไหนจึงสั่งสอนให้ลูกศิษย์ประสบความสำเร็จในชีวิต เป็นกำลังสำคัญของครอบครัว สังคมและประเทศชาติ   การพัฒนาวิชาชีพครูให้เป็นเลิศทางวิชาการนั้นจำเป็น  แต่การพัฒนาครูให้มีจิตวิญญาณความเป็นครูนั้นสำคัญที่สุด  เพราะอาชีพครูคือรากฐานและเป็นเสาหลักแห่งแผ่นดินอย่างแท้จริง

ศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์  นิลสุข
ศิษย์เก่าเกียรติยศ ประจำปี 2564  คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วันที่ 10 กรกฎาคม 2564

“ธมฺโม หเว รกฺขติ ธมฺมจารึ” ธรรมย่อมรักษาผู้ประพฤติธรรม